1) การBackup ข้อมูลด้วย pg_dump ตัวอย่างเช่น
pg_dump -i -h localhost -p 5432 -U postgres -F c -b -v -f
"/usr/local/backup/10.70.0.61.backup" old_db
รายต่อไปนี้คือตัวเลือกต่างๆที่ใช้ร่วมกับคำสั่งของ pg_dump , จากคำสั่งดังกล่าว postgres คือ username, "/usr/local/backup/10.70.0.61.backup" คือ path ที่จะเก็บไฟล์ backup และ old_db คือชื่อฐานข้อมูลที่เราจะทำการ backup ซึ่งในการจะ backup ฐานข้อมูลต้องเริ่มต้นด้วยคำสั่ง
pg_dump -?
จากนั้นจะตามด้วยตัวเลือกต่างๆดังต่อไปนี้
-p, –port=PORT database server port number
-i, –ignore-version proceed even when server version mismatches
-h, –host=HOSTNAME database server host or socket directory
-U, –username=NAME connect as specified database user
-W, –password force password prompt (should happen automatically)
-d, –dbname=NAME connect to database name
-v, –verbose verbose mode
-F, –format=c|t|p output file format (custom, tar, plain text)
-c, –clean clean (drop) schema prior to create
-b, –blobs include large objects in dump
-v, –verbose verbose mode
-f, –file=FILENAME output file name
2) การRestore ข้อมูลด้วย pg_restore ตัวอย่างเช่น
pg_restore -i -h localhost -p 5432 -U postgres -d old_db -v
"/usr/local/backup/10.70.0.61.backup"
เหมือนรายก่อนหน้านี้ ต่อไปนี้คือตัวเลือกต่างๆที่ใช้ร่วมกับคำสั่งของ pg_restore , จากคำสั่งดังกล่าว postgres คือ username, "/usr/local/backup/10.70.0.61.backup" คือ path ที่จะเก็บไฟล์ backup และ old_db คือชื่อฐานข้อมูลที่เราจะทำการ restore ซึ่งในการจะ restore ฐานข้อมูลต้องเริ่มต้นด้วยคำสั่ง
pg_restore -?
จากนั้นจะตามด้วยตัวเลือกต่างๆดังนี้
-p, –port=PORT database server port number
-i, –ignore-version proceed even when server version mismatches
-h, –host=HOSTNAME database server host or socket directory
-U, –username=NAME connect as specified database user
-W, –password force password prompt (should happen automatically)
-d, –dbname=NAME connect to database name
-v, –verbose verbose mode
อ้างอิง : ที่นี่
0 comments:
Post a Comment